พบกับไอเทมเทพตัวใหม่ล่าสุดของวงการไตร เมื่อ DT.Swiss ได้เปิดตัวล้อ
Disc wheel ตัวใหม่ที่จะเขย่าวงการไตรให้สะเทือนอีกครั้ง
กว่าจะออกมาเป็นล้อ Disk ที่สมบูรณ์นี้
DT ต้องใช้เวลาในการบ่มเพาะ
ด้วยการลงทุนในงาน R&D และเทคโนโลยีที่ใช้ในการยกระดับล้อล้อ
Disk ให้เบากว่าและ
เร็วกว่า
เมื่อกล่าวถึงกฎแห่งความเร็วย่อมหนีไม่พ้นคำว่า Aerodynamic หัวใจสำคัญของการออกแบบล้อ Disc นี้จึงเป็นการสร้างตามกฎแห่งความเร็วทุกอย่าง
ไม่ว่าจะเป็นการแหวกลม Rolling Resistance และน้ำหนักที่เบา
ARC 1100 DICUT® DISC
คือตัวจบตระกูล Aero
ของ DT.Swiss
ตัวจบที่สร้างความสมบูรณ์แบบและประกาศถึงความสำเร็จของล้อหลังที่ให้ความเร็วสูงสุด
ดังนั้น ARC 1100 จึงเป็นผลงาน
Master Piece ที่ออกแบบและประกอบใน
Switzerland ทำให้
DT. Swiss
ก้าวมาเป็นผู้นำแห่งวงการล้อ
ออกแบบบน Concept
Aerodynamic เพื่อยกระดับความสามารถด้วยการใช้เทคโนโลยี Cutting edge ที่ออกแบบร่วมกับบริษัท Swiss side อันเป็นการระดมสมองและ R&D จากสองบริษัทยักษ์ใหญ่ โดยล้อ Disk นี้จะเป็นล้อหลังสำหรับระบบ Disc Brake เท่านั้น
ด้วยการเพิ่มพื้นที่หน้าสัมผัสยางถึง 20 มม จึงสามารถเพิ่มระยะหน้ายางได้ถึง 28 มม จึงช่วยลดแรง Rolling
resistance และยังเพิ่มความสะนุ่มนวลในการขับขี่ได้ด้วย นอกจากส่วนของ Rim Profile แล้วการเลือกส่วนประกอบอย่างดุม 180 Dicut ระบบฟันเฟือง Ratchet EXP และ SINC
ceramic แบริ่ง
จึงทำให้เปรียบเสมือนยอดอัญมนีประดับยอดมงกุฎเลยก็ว่าได้
HUB TYPE
180 with Ratchet EXP 36
RIM
Carbon, Hooked / Crotchet tubeless TC
RIM HEIGHT
Disc
เทคโนโลยี
Tubeless Technology – เทคโนโลยีไร้ยางใน
ทำให้ล้อมีน้ำหนักเบาขึ้น
Ratchet EXP Technology – ระบบขับเคลื่อนด้วยฟันเฟืองที่ลดช่องว่างระหว่างเพลา
ทำให้เพิ่มแรงดันได้อย่างต่อเนื่อง ที่คิดค้นโดย DT.Swiss
SINC
Ceramic Technology – การนำเอาเซรามิค
แบริ่งของยี่ห้อ SINC ผู้ผลิตแบริ่งระดับโลกมาใช้ในจักรยาน
วัสดุและโครงสร้าง
เป็นความร่วมมือในการออกแบบของ 2 บริษัทยักษ์ใหญ่
เพื่อยกระดับ Aerodynamic ให้สูงขึ้น ทำให้ได้ผลงานอย่าง ARC Dicut
Disc ที่มีโครงสร้างจาก Carbon High quality มีขนาดและความสมมารถเท่าๆกันทั้ง
8 ชิ้น การวาง layer ของคาร์บอนเพื่อห่อหุ้ม
แผ่นโฟมเพื่อเพิ่มความแข็งแรงและ Stiff จากด้านในสู่ด้านนอก
โครงสร้างของขอบล้อ ได้รับการออกแบบให้มีความไม่สมมารถหรือเรียกว่า
Asymmetry
โดยด้านที่ตรงข้างกับเบรคจะมีความแบนกว่าในด้านฝั่งของเบรคที่ต้องรองรับแรงเบรคและเพื่อความสมบูรณ์สูงสุด
DT ได้ซ่อนวาล์วไว้ด้านในเพื่อให้เกิดความ Aerodynamic สูงสุด
โดยยังสามารถให้งานได้ง่ายเมื่อต้องสูบลมด้วยการหมุนได้ถึง 90 องศา